ศูนย์ประสานงานทางการแพทย์และสาธารณสุข
Would you like to react to this message? Create an account in a few clicks or log in to continue.
ศูนย์ประสานงานทางการแพทย์และสาธารณสุข

ศูนย์ประสานงานทางการแพทย์และสาธารณสุขช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วมจังหวัดนครราชสีมา
 
บ้านบ้าน  Latest imagesLatest images  ค้นหาค้นหา  สมัครสมาชิก(Register)สมัครสมาชิก(Register)  เข้าสู่ระบบ(Log in)  

 

 รายงานสถานการณ์น้ำท่วมครั้งที่ 27

Go down 
ผู้ตั้งข้อความ
smithi




จำนวนข้อความ : 19
Join date : 01/11/2010

รายงานสถานการณ์น้ำท่วมครั้งที่ 27 Empty
ตั้งหัวข้อเรื่อง: รายงานสถานการณ์น้ำท่วมครั้งที่ 27   รายงานสถานการณ์น้ำท่วมครั้งที่ 27 EmptyThu Nov 04, 2010 4:08 pm

แบบรายงานสถานการณ์และการช่วยเหลือประชาชนผู้ประสบสาธารณภัยและอุบัติภัย
วันที่ 4 พฤศจิกายน 2553 เวลา 15.00 น.
จังหวัดนครราชสีมา (โดยสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา)

1.สถานการณ์ทั่วไป
ตั้งแต่ต้นเดือนตุลาคม ถึงวันที่ 4 พฤศจิกายน 2553 เวลา 15.00 น. สถานการณ์โดยทั่วไป ไม่มีฝนตกในพื้นที่ จังหวัดนครราชสีมา มีลมแรง อุณหภูมิลดลงอากาศหนาวเล็กน้อย ยังมีพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ บริเวณใกล้ลำน้ำมูล ได้แก่ อำเภอเฉลิมพระเกียรติ อำเภอจักราช อำเภอพิมาย อำเภอชุมพวง อำเภอเมืองยาง และ อำเภอลำทะเมนชัย
ในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา มีพื้นที่ประสบอุทกภัยทั้งหมด จำนวน 32 อำเภอ 184 ตำบล 1,371 หมู่บ้าน 41 ชุมชน 80,052 ครัวเรือน 320,748 คน โดยมีพื้นที่เสี่ยงที่อำเภอโนนสูง อำเภอพิมาย อำเภอชุมพวง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ อำเภอเมืองยาง และอำเภอลำทะเมนชัย และมีบางพื้นที่อำเภอยังมีระดับน้ำที่ทรงตัว และเริ่มลดลง จนเข้าสู่สภาวะปกติแล้ว ซึ่งสรุปได้ดังนี้
1.1 พื้นที่และประชาชนที่ได้รับอุทกภัย ( ณ วันที่ 4 พฤศจิกายน 2553 เวลา 15.00 น.)
อำเภอรุนแรง 2 แห่ง โดยมีระดับน้ำเฉลี่ยสูงกว่า 50 ซม. ได้แก่ อำเภอชุมพวง และอำเภอลำทะเมนชัย รวมพื้นที่ประสบภัย 5 ตำบล 22 หมู่บ้าน /ชุมชน 623 ครัวเรือน 2,842 คน
อำเภอปานกลาง 6 แห่ง โดยมีระดับน้ำเฉลี่ย ไม่เกิน 50 ซม. ได้แก่ อำเภอเมือง อำเภอพิมาย อำเภอโนนสูง อำเภอประทาย อำเภอเมืองยาง และอำเภอเฉลิมพระเกียรติ รวมพื้นที่ประสบภัย 60 ตำบล 540 หมู่บ้าน/ชุมชน 52,487 ครัวเรือน 209,328 คน
อำเภอเล็กน้อย 24 แห่ง โดยสภาพพื้นที่ เข้าสู่สภาวะปกติ ได้แก่ อำเภอแก้งสนามนาง อำเภอปากช่อง อำเภอสีคิ้ว อำเภอบัวใหญ่ อำเภอปักธงชัย อำเภอด่านขุนทด อำเภอครบุรี อำเภอจักราช อำเภอห้วยแถลง อำเภอบ้านเหลื่อม อำเภอสูงเนิน อำเภอขามทะเลสอ อำเภอหนองบุญมาก อำเภอวังน้ำเขียว อำเภอขามสะแกแสง อำเภอโชคชัย อำเภอโนนไทย อำเภอเสิงสาง อำเภอโนนแดง อำเภอคง อำเภอสีดา อำเภอพระทองคำ อำเภอเทพารักษ์ และ อำเภอบัวลาย รวมพื้นที่ประสบภัย 119 ตำบล 850 หมู่บ้าน/ชุมชน 26,942 ครัวเรือน 108,578 คน ตามรายละเอียด ในตาราง ที่ 1 ดังนี้
ตารางที่ 1 พื้นที่และประชาชนที่ได้รับอุทกภัย
ชื่ออำเภอ ชื่อตำบล จำนวน หมู่บ้าน/ชุมชน จำนวนครัวเรือน จำนวนประชาชน(คน) ระดับความรุนแรง
1. ชุมพวง (4 ตำบล) 18 569 2,042 รุนแรง
ต.หนองหลัก, ต.ประสุข,ต.ชุมพวง ,
ต.โนนยอ (น้ำทรงตัว / ระดับน้ำเฉลี่ย 57 cm.)
ชื่ออำเภอ ชื่อตำบล จำนวน หมู่บ้าน/ชุมชน จำนวนครัวเรือน จำนวนประชาชน(คน) ระดับความรุนแรง
2.ลำทะเมนชัย ( 1 ตำบล) 4 54 800 รุนแรง
ต.ขุย (ปริมาณน้ำเพิ่มขึ้น /ระดับน้ำเฉลี่ย 100 cm)
3. ประทาย (6 ตำบล ) 19 389 1393 ปานกลาง
ต.ทุ่งสว่าง, ต.นางรำ, ต.ดอนมัน, ต.ประทาย, ต.โคกกลาง, ต.ตลาดไทร (ปริมาณน้ำเพิ่มขึ้น/ทรงตัว ระดับน้ำเฉลี่ย 12 cm)
4.เมืองยาง ( 4 ตำบล) 32 4968 20,890 ปานกลาง
ต.เมืองยาง ต.ละหานปลาค้าว ต.โนนอุดม ต.กระเบื้องนอก (น้ำลดลง / ระดับน้ำเฉลี่ย 15 cm).
5. เฉลิมพระเกียรติ (5 ตำบล) 62 3,059 9,842 ปานกลาง
ต.ท่าช้าง ,ต.หนองยาง, ต.พระพุทธ , ต.หนองงูเหลือม, ต.ช้างทอง (น้ำลดลง / ระดับน้ำเฉลี่ย 30 cm)

6. พิมาย (12 ตำบล) 119 13,582 59,315 ปานกลาง
ต.สัมฤทธิ์ ,ต.ธารละหลอด, ต.กระเบื้องใหญ่, ต.ในเมือง , ต.ท่าหลวง , ต.ดงใหญ่, ต.ชีวาน, ต.รังกาใหญ่, ต.กระชอน, ต.หนองระเวียง, ต.โบสถ์ ,ต.นิคมสร้างตนเอง
(น้ำลดลง /ระดับน้ำ เฉลี่ย 3 cm)

7. โนนสูง
(16 ตำบล) 195 8,170 24,510 น้อย
ต.โนนสูง, ต.ใหม่, ต.โตนด, ต.บิง, ต.ดอนชมพู, ต.ตลาดแค, ต.หลุมข้าว, ต.มะค่า, ต.พลสงคราม, ต.จันอัด, ต.เมืองปราสาท, ต.ขามเฒ่า, ต.ด่านคล้า, ต.ลำคอหงส์, ต.ดอนหวาย, ต.ลำมูล 27 (เข้าสู่ภาวะปกติ/เร่งฟื้นฟู)

8. เมือง (17 ตำบล ) 86
22,319 93,378 น้อย
ต.บ้านใหม่ ,ต.ปรุใหญ่,ต.สีมุม ,ต.บ้านโพธิ์,ต.จอหอ,ต.โคกสูง, ต.บ้านเกาะ, ต.หนองกระทุ่ม, ต.พลกรัง,ต.โพนสูง, ต.พุดซา, ต.หนองยารักษ์,ต.หนองระเวียง, ต.หนองปลิง, ต.หมื่นไวย, ต.โคกกรวด, ต.ในเมือง
(เข้าสู่ภาวะปกติ/เร่งฟื้นฟู)
9. จักราช
(2 ตำบล) 19 1189 5334 น้อย
ต.ทองหลาง, ต.ดงพลอง (เข้าสู่ภาวะปกติ/เร่งฟื้นฟู)
ชื่ออำเภอ ชื่อตำบล จำนวน หมู่บ้าน/ชุมชน จำนวนครัวเรือน จำนวนประชาชน(คน) ระดับความรุนแรง

10.คง (2 ตำบล ) 3 266 1,195 น้อย
ต.ตาจั่น , ต.เมืองคง (เข้าสู่ภาวะปกติ/เร่งฟื้นฟู)

11. แก้งสนามนาง (1 ตำบล ) 20 น้อย
ต.แก้งสนามนาง (พื้นที่การเกษตร และเส้นทางคมนาคม (เข้าสู่ภาวะปกติ/เร่งฟื้นฟู)

12. ปากช่อง (11 ตำบล) 48 2,409 7,500 น้อย
ต.หนองสาหร่าย ,ต.ปากช่อง , ต.หมู่สี , ต.จันทึก, ต.ขนงพระ, ต.คลองม่วง, ต.กลางดง ต.วังกระทะ, ต.พญาเย็น, ต.วังไทร, ต.หนองน้ำแดง, (เข้าสู่ภาวะปกติ/เร่งฟื้นฟู)
(6 ตำบล) 28 685 2,602 น้อย
13. สีคิ้ว ต.กุดน้อย ,ต.บ้านหัน, ต.ลาดบัวขาว,ต.หนองบัวน้อย, ต.มิตรภาพ, ต.คลองไผ่ (เข้าสู่ภาวะปกติ/เร่งฟื้นฟู)
( ตำบล) น้อย
14. บัวใหญ่ (พื้นที่การเกษตร และเส้นทางคมนาคม (เข้าสู่ภาวะปกติ/เร่งฟื้นฟู)

15. ปักธงชัย (16 ตำบล) 156 9,704 38,975 น้อย
ต.เมืองปัก , ต.ตะคุ, ต.นกออก, ต.งิ้ว, ต.ตูม , ต.ดอน, ต.ลำนางแก้ว , ต.ตะขบ ,ต.โคกไทย, ต.สำโรง , ต.สะแกราช, ต.บ่อปลาทอง, ต.เกษมทรัพย์, ต.สุขเกษม 14 (เข้าสู่ภาวะปกติ/เร่งฟื้นฟู)

16.ด่านขุนทด (4 ตำบล ) 12 250 760 น้อย
ต.หนองบัวตะเกียด ,ต.บ้านแปรง,ต.บ้านเก่า ต.ตลาด (เข้าสู่ภาวะปกติ/เร่งฟื้นฟู)

17.ครบุรี (2 ตำบล) 5 120 300 น้อย
ต.เฉลียง ,ต.จระเข้หิน (เข้าสู่ภาวะปกติ/เร่งฟื้นฟู)

18. ห้วยแถลง (10 ตำบล) 120 320 1,100 น้อย
ต.หลุ่มตะเคียน, ต.พลับพลา, ต.งิ้ว, ต.กงรถ,ต.ห้วยแถลง, ต.หลุ่มประดู่, ต.หินดาด, ต.ทับสวาย,ต.ห้วยแคน, ต.ตะโก (เข้าสู่ภาวะปกติ/เร่งฟื้นฟู)
19. บ้านเหลื่อม (4 ตำบล) 27 25 90 น้อย
ต.บ้านเหลือม,ต.วังโพธิ์, ต.ช่อระกา,ต.โคกกระเบื้อง (เข้าสู่ภาวะปกติ/เร่งฟื้นฟู)
ชื่ออำเภอ ชื่อตำบล จำนวน หมู่บ้าน/ชุมชน จำนวนครัวเรือน จำนวนประชาชน(คน) ระดับความรุนแรง
(5 ตำบล) 35 4,125 19,029 น้อย
20. สูงเนิน ต.เสมา, ต.บุ่งขี้เหล็ก, ต.นากลาง, ต.มะเกลือเก่า, ต.หนองตะไก้ (เข้าสู่ภาวะปกติ/เร่งฟื้นฟู/น้ำท่วมขั้งพื้นที่เกษตร)
21. ขามทะเลสอ (5 ตำบล) 42 140 480 น้อย
ต.โป่งแดง , ต.ขามทะเลสอ, ต.บึงอ้อ, ต.พันดุง, ต.หนองสรวง (เข้าสู่ภาวะปกติ/เร่งฟื้นฟู)
22. หนองบุญมาก (1 ตำบล) 2 25 90 น้อย
ต.หนองหัวแรต (เข้าสู่ภาวะปกติ/เร่งฟื้นฟู)
( ตำบล ) น้อย
23.วังน้ำเขียว (พื้นที่การเกษตร และเส้นทางคมนาคม (เข้าสู่ภาวะปกติ/เร่งฟื้นฟู)
(7 ตำบล) 32 50 120 น้อย
24. ขามสะแกแสง ต.โนนเมือง, ต.เมืองนาท, ต.ชีวึก, ต.พะงาด, ต.หนองหัวฟาน, ต.เมืองเกษตร, ต.ขามสะแกแสง (เข้าสู่ภาวะปกติ/เร่งฟื้นฟู)
(10 ตำบล) 30 1,120 2,520 ปานกลาง
25. โชคชัย
ต.ท่าลาดขาว, ต.พลับพลา , ต.กระโทก , ต.ท่าเยี่ยม, ต.โชคชัย , ต.ละลมใหม่พัฒนา, ต.ท่าจะหลุ่ง,ต.ท่าอ่าง, ต.ด่านเกวียน, ต.ทุ่งอรุณ (น้ำลดลงเกือบปกติ/ระดับน้ำเฉลี่ย 3 cm )
26.โนนไทย (10 ตำบล) 84 2,250 16,000 น้อย
ต.โนนไทย, ต.ด่านจาก, ต.กำปัง , ต.สำโรง, ต.ค้างพลู, ต.บ้านวัง, ต.บันลัง, ต.สายออ,ต.ถนนโพธิ์, ต.หนองคู (เข้าสู่ภาวะปกติ/เร่งฟื้นฟู)
27.เสิงสาง (6 ตำบล) 75 205 1,204 น้อย
ต.เสิงสาง ,ต.โนนสมบูรณ์ ,ต.สระตะเคียน , ต.กุดโบสถ์ ,ต.สุขไพบูลย์,ต.บ้านราษฎร์ (เข้าสู่ภาวะปกติ/เร่งฟื้นฟู)

28. โนนแดง (4 ตำบล) 11 35 120 น้อย
ต.วังหิน, ต.สำพะเนียง, ต. ดอนยาวใหญ่, ต.โนนแดง (เข้าสู่ภาวะปกติ/เร่งฟื้นฟู)

29. สีดา (1 ตำบล) 7 105 273 น้อย
ต.โนนประดู่ (เข้าสู่ภาวะปกติ/เร่งฟื้นฟู)

30.พระทองคำ (4 ตำบล ) 51 3,934 10,886 น้อย
ต.สระพระ,ต.ทัพรั้ง,ต.พังเทียม,ต.หนองหอย (เข้าสู่ภาวะปกติ/เร่งฟื้นฟู)
ชื่ออำเภอ ชื่อตำบล จำนวน หมู่บ้าน/ชุมชน จำนวนครัวเรือน จำนวนประชาชน(คน) ระดับความรุนแรง

31. เทพารักษ์
(4 ตำบล) 40 20 120 น้อย
ต.สำนักตะคร้อ, ต.หนองแฝง, ต.บึงปรือ, ต.วังยายทอง (เข้าสู่ภาวะปกติ/เร่งฟื้นฟู)

32.บัวลาย ( 4 ตำบล ) น้อย
ท่วมเส้นทางคมนาคม (เข้าสู่ภาวะปกติ/เร่งฟื้นฟู)
รวม 32 อำเภอ 181 ตำบล 1,396 หมู่บ้าน 41 ชุมชน 80,087 320,868

1.2 สถานบริการและสาธารณูปโภคที่ได้รับความเสียหาย/ผลกระทบ
1.2.1 สรุปสถานบริการที่ได้รับความเสียหาย (รายละเอียดตามตารางที่ 2)
โรงพยาบาลศูนย์มหาราชฯ จำนวน 1 แห่ง 62,840,000 บาท
โรงพยาบาลจิตเวชฯ จำนวน 1 แห่ง 24,600,000 บาท
วิทยาลัยพยาบาลฯ จำนวน 1 แห่ง 7,000,000 บาท
โรงพยาบาลชุมชน จำนวน 4 แห่ง 44,035,000 บาท
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ จำนวน 4 แห่ง 2,878,400 บาท
สถานีอนามัย จำนวน 27 แห่ง 4,332,520 บาท
รวม 145,685,920 บาท

ตารางที่ 2 รายงานสถานบริการที่ได้รับความเสียหาย

ชื่อสถานบริการและสาธารณูปโภคที่ได้รับความเสียหาย อำเภอ/ตำบล/หมู่บ้าน ประมาณความเสียหายขั้นต้น รายละเอียด
1.โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา อำเภอเมืองนครราชสีมา 62,840,000 -น้ำท่วมบริเวณโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมาขนาดความสูงของน้ำ 1 เมตร
2. โรงพยาบาลจิตเวชราชนครินทร์ อำเภอเมืองนครราชสีมา 24,600,000 -น้ำท่วมอาคารผู้ป่วยนอก ขนาดความสูงของน้ำ 1 เมตร
3.โรงพยาบาลปักธงชัย อำเภอปักธงชัย 1,450,000 -น้ำท่วมโรงพยาบาลแบบน้ำหลากและลดลงรวดเร็ว
4.โรงพยาบาลปากช่อง อำเภอปากช่อง 1,100,000 -น้ำท่วมโรงพยาบาลแบบน้ำหลากและลดลงรวดเร็ว
ชื่อสถานบริการและสาธารณูปโภคที่ได้รับความเสียหาย อำเภอ/ตำบล/หมู่บ้าน ประมาณความเสียหายขั้นต้น รายละเอียด
5. โรงพยาบาลพิมาย อำเภอพิมาย 42,615,000 ท่วมหน้าโรงพยาบาล/ในตึกผู้ป่วยเกือบเท่าเตียงผู้ป่วย
6.สำนักงานสาธารณสุขอำเภอปักธงชัย อำเภอปักธงชัย 1,180,000 -น้ำท่วมอาคาร ขนาดความสูงของน้ำ 1 เมตร
7.สำนักงานสาธารณสุขอำเภอพิมาย อำเภอพิมาย 50,000.00 -น้ำท่วมอาคาร ขนาดความสูงของน้ำ 70 ซม.
8.สำนักงานสาธารณสุขอำเภอสูงเนิน อำเภอสูงเนิน 300,000 น้ำท่วมอาคารสนง., บ้านพัก และห้องน้ำ
9.สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเฉลิมพระเกียรติ อำเภอเฉลิมพระเกียรติ รอประมาณการ น้ำท่วมบริเวณอาคารสนง.
10.สถานีอนามัยนกออก อำเภอปักธงชัย 600,000 -น้ำท่วมอาคาร สถานีอนามัยด่านล่าง ความสูงของน้ำ 80 ซม.
11.สถานีอนามัยงิ้ว อำเภอปักธงชัย 180,000 -น้ำท่วมอาคาร สถานีอนามัยด่านล่าง ความสูงของน้ำ 80 ซม.
12.สถานีอนามัยบ้านแปลง อำเภอด่านขุนทด 80,000 น้ำท่วมอาคาร สถานีอนามัยด่านล่าง ความสูงของน้ำ 30 ซม.
13.สถานีอนามัยขนงพระใต้ อำเภอปากช่อง 123,000 น้ำหลากอย่างรุนแรง
14.สถานีอนามัยวังไทร อำเภอปากช่อง 93,000 น้ำหลากอย่างรุนแรง
15.สถานีอนามัยท่าช้าง อำเภอปากช่อง 144,000 น้ำหลากอย่างรุนแรง
16.สถานีอนามัยบ่อทอง อำเภอปากช่อง 160,000 น้ำหลากอย่างรุนแรง
17.สถานีอนามัยวังกระทะ อำเภอปากช่อง 80,000 น้ำหลากอย่างรุนแรง
18.สถานีอนามัยมะค่าระเว อำเภอพิมาย 50,000 น้ำท่วมสถานีอนามัยชั้นล่าง30ซม.
19.สถานีอนามัยบ้านซึม อำเภอพิมาย 30,000 น้ำท่วมสถานีอนามัยชั้นล่าง 30 ซม.
20.สถานีอนามัยวังโรงน้อย อำเภอสีคิ้ว 100,000 น้ำท่วมสถานีอนามัย บ้านพัก ถนน
21. สถานีอนามัยทุ่งกระโดน ต.สีมุม อำเภอเมืองนครราชสีมา 50,000 พื้นชั้นล่าง และระบบข้อมูลเสียหาย
22. สถานีอนามัยโพนสูง ต.หมื่นไวย อำเภอเมืองนครราชสีมา 30,000 พื้นชั้นล่างชองสถานี-อนามัย และพื้นบ้านพัก
23. สถานีอนามัยนาราดพัฒนา อำเภอโนนสูง 147,000 น้ำท่วมชั้นล่าง ระดับน้ำ 50 cm. พื้นชั้นล่าง ,ห้องน้ำ และถนนหินคลุกภายใน สอ.
ชื่อสถานบริการและสาธารณูปโภคที่ได้รับความเสียหาย อำเภอ/ตำบล/หมู่บ้าน ประมาณความเสียหายขั้นต้น รายละเอียด
24. สถานีอนามัยพลสงคราม อำเภอโนนสูง 50,000 น้ำท่วมชั้นล่าง ระดับน้ำ 50 cm. พื้นชั้นล่าง ,ห้องน้ำ 4 ห้อง
25. สถานีอนามัยหลุมข้าว อำเภอโนนสูง 165,900 น้ำท่วมชั้นล่าง พื้นชั้นล่าง ,ห้องน้ำ 3 ห้อง ปั๊มลม 2 ตัว
26. สถานีอนามัยทองหลาง อำเภอจักราช 100,000 รั้ว สอ. พัง ยาว 100 เมตร
27. สถานีอนามัยโคกพระ อำเภอจักราช 120,000 เตาเผาขยะ และโรงรถ เสียหาย
28. สถานีอนามัยประสุข อำเภอชุมพวง 30,000 น้ำท่วมชั้นล่าง บ้านพัก 2 หลัง ระดับน้ำ 50 cm., ถนนภายในสอ.ยาว100 ม.
29. สถานีอนามัยหนองหลัก อำเภอชุมพวง 30,000 น้ำท่วมชั้นล่าง สอ.และบ้านพัก 2 หลัง ระดับน้ำ 50 cm.,
30. สถานีอนามัยหนองตะไก้ อำเภอสูงเนิน 50,000 น้ำท่วมบ้านพัก สอ.ชั้นล่าง
31. สถานีอนามัยหินตั้ง อำเภอสูงเนิน 310,000 น้ำท่วมชั้นล่าง สอ.และบ้านพัก
32. สถานีอนามัยท่าช้าง เฉลิมพระเกียรติ รอประมาณการ น้ำท่วมอาคาร สอ.
33. ศูนย์แพทย์ชุมชน 11 เฉลิมพระเกียรติ รอประมาณการ น้ำท่วมอาคาร สอ.
34. สถานีอนามัยบ้านกรูด เฉลิมพระเกียรติ รอประมาณการ น้ำท่วมอาคาร สอ.
35. สถานีอนามัยหนองหัวแรต อำเภอหนองบุญมาก 96,900 น้ำท่วมอาคาร สอ. และบ้านพัก
36. สถานีอนามัยคอกหมู อำเภอประทาย 300,000 น้ำท่วมอาคาร สอ.
37 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อำเภอเมือง 7,000,000

2. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย
1) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา จำนวน 44 ราย
2) อำเภอปักธงชัย จำนวน 97 ราย
3) อำเภอชุมพวง จำนวน 2 ราย
4) อำเภอสีคิ้ว จำนวน 5 ราย
5) อำเภอพระทองคำ จำนวน 5 ราย
6) อำเภอขามทะเลสอ จำนวน 9 ราย
7) อำเภอเมือง จำนวน 67 ราย
Cool อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จำนวน 41 ราย
9) อำเภอสูงเนิน จำนวน 9 ราย
10) อำเภอหนองบุญมาก จำนวน 9 ราย
รวม 288 ราย
3.การดำเนินงานช่วยเหลือประชาชน
1.จัดหน่วยแพทย์/สาธารณสุข เคลื่อนที่เพื่อให้บริการผู้ประสบภัย ในพื้นที่
รวม จำนวน 107 แห่ง / 139 ครั้ง
ลำดับ ชื่ออำเภอ การให้บริการหน่วยแพทย์ และสาธารณสุข
จำนวนหน่วย จำนวนครั้ง
1 ปักธงชัย 8 8
2 ปากช่อง 5 6
3 เมือง 10 16
4 ด่านขุนทด 2 2
5 พิมาย 2 2
6 จักราช 8 9
7 โนนไทย 8 13
8 โชคชัย 11 11
9 โนนสูง 15 32
10 พระทองคำ 2 3
11 บัวใหญ่ 1 1
12 สีคิ้ว 21 21
13 ขามทะเลสอ 1 2
14 ชุมพวง 6 6
15 ลำทะเมนชัย 2 2
23 โนนแดง 6 6

2. จัดหน่วยแพทย์/สาธารณสุข เคลื่อนที่โดยทางเรือท้องแบน
1. พื้นที่อำเภอสีคิ้ว จำนวน 4 แห่ง / 4 ครั้ง
3 . สนับสนุนคลอรีน 8 อำเภอ/ 8ถัง ได้แก่ อำเภอปักธงชัย อำเภอเมือง อำเภอปากช่อง อำเภอพิมาย อำเภอโชคชัย อำเภอโนนสูง อำเภอจักราช อำเภอสูงเนิน







4. เคมีภัณฑ์ และวัสดุในการป้องกันโรค ได้แก่

หน่วยงาน รองเท้าบู๊ท ยากันยุง เจลล้างมือ
รพ.มหาราชนครราชสีมา 1,260 0
รพ.จิตเวช 200 0
อำเภอปักธงชัย 400 1,700 288
อำเภอเมือง 3,700 15,100 4,350
อำเภอโชคชัย 500 300
อำเภอจักราช 640 0
อำเภอสูงเนิน 420 1,400
อำเภอโนนแดง 140 5,000
อำเภอขามทะเลสอ 100 300
อำเภอพระทองคำ 200 0
อำเภอสีคิ้ว 100 200
อำเภอชุมพวง 1,020 12,100
อำเภอปากช่อง 380 10,500 648
อำเภอพิมาย 1,220 35,200
อำเภอด่านขุนทด 240 0
อำเภอเฉลิมพระเกียรติ 1,222 10,500
อำเภอโนนสูง 600 2,100
อำเภอโนนไทย 200 0
อำเภอลำทะเมนชัย 260 2,100
อำเภอสีดา 160 0
อำเภอแก้งสนามนาง 200 0
อำเภอเมืองยาง 340 7,100
เคหะอบอุ่น/รพ.เซ็นต์แมรี่ 120 0
อำเภอประทาย 0 2,800
อำเภอคง 100 1,200
ศาลากลางจังหวัด,การไฟฟ้า,ตำรวจภูธร, แขวงการทาง นม.ที่ 2 410 0
เจ้าหน้าที่ สสจ. 10 0
รวม 14,142 107,600 5,286
5. การสนับสนุนเวชภัณฑ์สามัญประจำบ้านให้ผู้ประสบภัยน้ำท่วม จ.นครราชสีมา
(รายงาน ณ 28 ต.ค. 53 เวลา 15.00 น.)
ที่ อำเภอที่ได้รับการจัดสรรยา 1.ยาชุดตำราหลวง 2. ยาชุดอุทกภัย 3.ยาหยอดตา Chloramphenicol eye drop 4. ยาทาเชื้อรา 3 รายการ 5. ยาแก้ปวด ลดไข้ Paracetamol 500 mg/tab. 6. ยาทาแก้แพ้ คัน 0.1% TA cream รวม
(ชุด) (ชุด) (ขวด) (หลอด) (แผง) (หลอด)
ยอดรับเข้า 47,400 12,500 684 42,395 50,000 36,000
1 แก้งสนามนาง - - - - - 200
2 ขามทะเลสอ 600 - - - - - 600
3 คง 250 1,000 - 300 - 400 1,950
4 ครบุรี 500 - - - - - 500
5 จักราช 3,000 500 120 3,025 - 1,000 7,645
6 เฉลิมพระเกียรติ 2,300 50 - 1,200 600 600 4,750
7 ชุมพวง - - - 2,660 - 1,000 3,660
8 โชคชัย 3,900 - - 500 - - 4,400
9 ด่านขุนทด 1,000 - - - - - 1,000
10 โนนไทย 500 500 - 1,120 - 400 2,520
11 โนนสูง 2,500 1,000 - 3,260 - 3,600 10,360
12 บัวใหญ่ 500 - - - - - 500
13 ปักธงชัย 3,100 240 3,480 15,360 3,200 25,380
14 ปากช่อง 2,400 - - - - - 2,400
15 พระทองคำ 2,400 350 - 306 - 400 3,456
16 พิมาย 5,000 1,700 120 5,880 - 2,000 14,700
17 เมือง 8,450 2,550 - 1,961 40 1,050 14,051
18 เมืองยาง - 1,700 - 1,520 300 2,400 5,920
19 ลำทะเมนชัย - 200 - 200 300 1,800 2,500
20 วังน้ำเขียว 500 - - - - - 500
21 สูงเนิน 1,500 500 - 1,080 - 1,500 4,580
22 จัดสรร ศูนย์จังหวัด 9,000 - - 5,100 10,000 5,000 29,100
23 ศูนย์ช่วยเหลือสสจ. - 950 - 2,123 1,800 1,000
24 บุรีรัมย์ - 250 - 1,600 - 2,000
25 ชัยภูมิ - 1,000 - 1,000 - 1,000
รวมจ่าย 47,400 12,250 480 36,315 28,400 28,550 153,395
คงเหลือ - 250 204 6,080 21,600 7,450 35,584
6. สนับสนุนถุงยังชีพและน้ำดื่ม จำนวน 2,670 ชุด ได้แก่
อำเภอเมือง 362 ชุด อำเภอปักธงชัย 153 ชุด
อำเภอขามทะเลสอ 80 ชุด อำเภอโนนไทย 230 ชุด
อำเภอพิมาย 296 ชุด อำเภอจักราช 150 ชุด
อำเภอปากช่อง 120 ชุด อำเภอโนนสูง 75 ชุด
อำเภอด่านขุนทด 156 ชุด อำเภอสีคิ้ว 80 ชุด
อำเภอลำทะเมนชัย 70 ชุด อำเภอหนองบุญมาก 16 ชุด
อำเภอเฉลิมพระเกียรติ 380 ชุด อำเภอโชคชัย 110 ชุด
อำเภอชุมพวง 50 ชุด อำเภอสีดา 110 ชุด
อำเภอเมืองยาง 65 ชุด อำเภอพระทองคำ 30 ชุด
อำเภอขามสะแกแสง 20 ชุด ชัยภูมิ 117 ชุด


7. สนับสนุนบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป (มาม่า) ให้กับอำเภอพิมาย จำนวน 1,500 ซอง

8. สนับสนุนผ้าอนามัย ให้กับอำเภอพิมาย จำนวน 640 ห่อ

9. สนับสนุนป้ายหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ ให้กับทุกอำเภอ จำนวน 50 ผื่น

10. สนับสนุนแผ่นพับ ใบปลิว ประชาสัมพันธ์ ให้กับทุกอำเภอ จำนวน 80,000 แผ่น

สรุปผู้ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย ( ระหว่างวันที่ 16 – 3 พฤศจิกายน 2553)
1.เสียชีวิต....24....ราย อำเภอด่านขุนทด 2 ราย อำเภอปักธงชัย 1 ราย อำเภอสูงเนิน 2 ราย อำเภอโนนสูง 3 ราย
อำเภอเมือง 5 ราย อำเภอขามทะเลสอ 1 ราย
อำเภอบัวใหญ่ 2 ราย อำเภอสีคิ้ว 2 ราย
อำเภอคง 1 ราย อำเภอหนองบุญมาก 2 ราย
อำเภอขามสะแกแสง 2 ราย อำเภอปากช่อง 1 ราย
2.บาดเจ็บ.......220............ราย
-สาหัส...............2.........ราย ( รถคว่ำจมน้ำ 1 ราย, มอเตอร์ไซด์ล้ม 1 ราย )
-เล็กน้อย.........218........ราย
3.ป่วยด้วยโรค
1.โรคไข้หวัด.......................9,276 .......ราย
2.โรคตาแดง...........................252........ราย
3. น้ำกัดเท้า..........................10,128........ราย
4. ปวดท้อง/ท้องเสีย................835......ราย
5. ถูกสัตว์มีพิษกัด...................259.......ราย
6.นอนไม่หลับ,เครียด............5,623...ราย
8.หอบหืด..................................53.....ราย
9.โรคเบาหวาน/ความดัน.........204......ราย
10.โรคระบบผิวหนัง……......3,783….ราย
11.โรคปวดข้อ กล้ามเนื้อ........4,560….ราย
12. บาดแผล/อุบัติเหตุ/ของมีคม ...705..ราย
13. โรคไตวาย...................................1..ราย
14. โรคช่องปากและฟัน...................4..ราย
15. โรคมะเร็ง...................................1...ราย
16. โรคไข้เลือดออก.........................1...ราย
17. โรคติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ.......1...ราย
15. อื่นๆ.....................................1,220…ราย
รวม 36,906 ราย
(ข้อมูล: จากการรายงานการออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ในแต่ละอำเภอ)

4. สรุปผลการดำเนินงานช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยด้านการแพทย์และสาธารณสุข
มาตรการดำเนินงาน
1. ด้านการบริหารจัดการ
1.1 จัดตั้งศูนย์อำนวยการเฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์อุทกภัย โดยให้ศูนย์อำนวยการช่วยเหลือผู้ประสบภัยด้านการแพทย์และสาธารณสุข พร้อมจัดบุคลากรประจำศูนย์ตลอด 24 ชั่วโมง หมายเลขโทรศัพท์ 044- 466000 , 044-465011-4 ต่อ 310 ,311 โทรสาร. 044-465250 website http://korathealth.com และสั่งการให้พื้นที่น้ำท่วมจัดตั้งศูนย์อำนวยการช่วยเหลือผู้ประสบภัยด้านการแพทย์และสาธารณสุขในทุกพื้นที่
1.2 จัดเตรียมระบบสนับสนุนให้พร้อมและเพียงพอ ทั้ง เวชภัณฑ์ยา เวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา เคมีภัณฑ์ เครื่องป้องกันต่างๆ เพื่อการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยให้ครอบคลุมในทุกพื้นที่
2 . ด้านการจัดระบบบริการ
2.1 เนื่องจากพื้นที่ในจังหวัดนครราชสีมา ประสบอุทกภัยครอบคลุมทั่วทั้งหวังหวัด ส่งผลกระทบต่อระบบการรักษาพยาบาลและการส่งต่อผู้ป่วย จึงจัดระบบการรักษาและการส่งต่อผู้ป่วย เป็น 4 เครือข่ายดังนี้
เครือข่ายที่ 1 : รพ.พระทองคำ,รพ.ขามทะเลสอ,รพ.สูงเนิน,รพ.โนนสูง,รพ.โนนไทย,รพ.เฉลิมพระเกียรติ ,รพ.สีคิ้ว,รพ.ปักธงชัย,รพ.วังน้ำเขียว,รพ.ด่านขุนทด, อ.เทพารักษ์ และ อ.เมือง หน่วยรับส่งต่อ คือ โรงพยาบาลโคราชเมโมเรียล, รพ.เดอะโกลเดนเกท, รพ.กรุงเทพราชสีมา, รพ.นครราชสีมา, โรงพยาบาลค่ายสุรนา, รพ.ส่งเสริมสุขภาพ
เครือข่ายที่ 2 : รพ.พิมาย, รพ.โนนแดง, รพ.ประทาย, รพ.สีดา, รพ.บัวใหญ่, รพ.บัวลาย, รพ.บ้านเหลื่อม, รพ.คงรพ.ขามสะแกแสง, รพ.แก้งสนามนาง หน่วยรับส่งต่อ คือ โรงพยาบาลบัวใหญ่, โรงพยาบาลประทาย, โดยมีทีมแพทย์จาก โรงพยาบาลขอนแก่น โรงพยาบาลศรีนครินทร์ มาให้บริการ
เครือข่ายที่ 3 : รพ.ห้วยแถลง, รพ.โชคชัย, รพ.หนองบุญมาก, รพ.เสิงสาง, รพ.ครบุรี, รพ.จักราช ชุมพวง, รพ.ลำทะเมนชัย, รพ.เมืองยาง หน่วยรับส่งต่อ คือ โรงพยาบาลบุรีรัมย์
เครือข่ายที่ 4 : รพ.ปากช่อง, หน่วยรับส่งต่อ คือ โรงพยาบาลสระบุรี
ส่วนในอำเภอเมือง ได้กระจายการรักษาพยาบาล ไปตามจุดต่าง ๆดังนี้
จุดที่ 1 เต็นท์จุดบริการหน้าโรงแรมพีกาซัส
จุดที่ 2 เต็นท์จุดบริการหน้าโรงเรียนสุรนารีวิทยา
จุดที่ 3 โรงพยาบาลค่ายสุรนารีวิทยา
จุดที่ 4 โรงพยาบาลนครราชสีมา
จุดที่ 5 ศูนย์บริการสาธารณสุขเมืองย่า ทั้ง 7 แห่ง ( 1. ศีรษะละเริง 2โพนสูง 3.มะค่า 4.หนองปลิง 5.หัวทะเล 6.วัดบูรพ์ 7.หนองปรู )
จุดที่ 6 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
จุดที่ 7 โรงพยาบาลใกล้เคียง (รพ.ขามทะเลสอ รพ.โนนไทย รพ.เทศบาลจอหอ รพ.โชคชัย รพ.สูงเนิน)
- กรณีผู้ป่วยที่รับรักษาที่โรงพยาบาลพิมาย จากเดิมที่ให้ไปรับรักษาที่โรงพยาบาลขอนแก่น แต่ขณะนี้จังหวัดขอนแก่นน้ำเริ่มท่วมแล้ว จึงให้ผู้ป่วยที่ไปรับรักษาที่โรงพยาบาลบัวใหญ่ แทน และทาง รพ.บัวใหญ่ ได้ขอสนับสนุนแพทย์เฉพาะทางจากจังหวัดใกล้เคียง เช่น บุรีรัมย์ สุรินทร์
- กรณีอุบัติเหตุฉุกเฉินและส่งต่อ เนื่องจาก รพ.มหาราชนครราชสีมา ยังไม่สะดวกในการให้บริการผู้ป่วยนอก จึงมีแนวทางการส่งต่อภายในจังหวัด คือ 1) รพ.ค่ายสุรนารี 2) รพ.นครราชสีมา 3) รพ.กรุงเทพราชสีมา 4) รพ.ส่งเสริมสุขภาพ 5)รพ.โคราชเมโมเรียล 6) รพ.เดอะโกลเด้นเกท และสามารถส่งต่อไปยังจังหวัดใกล้เคียงได้
2.2 การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วมและผู้ที่เจ็บป่วยฉุกเฉิน สามารถโทรแจ้ง 1669
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินได้ตลอด 24 ชั่วโมง รวมทั้งผู้ที่เข้าโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(บัตรทอง) สามารถใช้บัตรประชาชนขอรับบริการได้ที่โรงพยาบาลหรือสถานบริการสาธารณสุขทุกแห่ง
กรณีเส้นทางน้ำท่วม สามารถประสานงานกับหน่วยป้องกันภัยจังหวัดและหน่วยงานสนับสนุนจากมูลนิธิต่างๆ และหน่วยทหารในการส่งต่อและเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
2.3 การจัดหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ออกให้บริการประชาชนในพื้นที่ที่ประสบอุทกภัย จัดหน่วย
แพทย์เคลื่อนที่เพื่อให้บริการผู้ประสบภัย








5. การให้ความช่วยเหลือของหน่วยงานต่างๆ
5.1 การสนับสนุนด้านเวชภัณฑ์ เคมีภัณฑ์ วัสดุอุปกรณ์ และสื่อประชาสัมพัน์
หน่วยงาน สิ่งสนับสนุน
1. องค์การเภสัชกรรม
2. กรมอนามัย
3. กรมควบคุมโรค
4. ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
5. โรงพยาบาลสระบุรี
6. กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ


7. บริษัท กย.15
8. โรงพยาบาลสงฆ์ บริโภค แก่ เจ้าคณะจังหวัด
1. เวชภัณฑ์สามัญประจำบ้าน
2. ปูนขาว คู่มือการล้างตลาด
3. รองเท้าบู๊ท ยา และเวชภัณฑ์
4. วิศวะกรรมการแพทย์ เพื่อแก้ปัญหาให้กับรพ. ต่างๆ

5. ชุดทำแผล
6. สื่อประชาสัมพันธ์ สปอร์ต วิทยุ 500 แผ่น,
สารคดี 500 แผ่น , คู่มือให้ประชาชน 13,500 ฉบับ,
ใบปลิว 8,400 ฉบับ
7. ยากันยุง 50,000 ชุด
8. บริจาคเงินพร้อมเครื่องอุปโภค รวมเงิน 59,000 บาท

5.2 ทีมหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ ที่ประสานผ่าน สนง.สสจ.นม.
ทีมหน่วยแพทย์ ว.ด.ป. จำนวน สถานที่ออกปฏิบัติงาน
รพ.ศูนย์ขอนแก่น 18-22 ต.ค.53 4 ทีม 1. ปั๊มปตท.อำเภอเมือง 2. อ.โชคชัย
3. อ.พิมาย 4. อ.ประทาย และ อ.ชุมพวง
23 ต.ค.53 - ปัจจุบัน 3 ทีม 2 ทีม บริเวณ แยกบ้านวัด อ.คง
1 ทีม ออกพื้นที่อำเภอประทายและชุมพวง
24-26 ต.ค.53 4 คน
/วัน แพทย์อายุรกรรม 1 คน และศัลยกรรม 1 คน ประจำที่ รพ.บัวใหญ่ และ รพ.ประทาย
รพ.สุรินทร์ 20 ต.ค.53 - ปัจจุบัน 2 คน
/วัน แพทย์อายุรกรรม 1 คน และกุมารเวชกรรม 1 คน ประจำที่ รพ.บัวใหญ่
1 คน
/วัน แพทย์ 1 คน ประจำที่ รพ.พิมาย ร่วมออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่
รพ.บุรีรัมย์ 19-22 ต.ค.53 1 ทีม อ.เมือง
22 ต.ค.53 - ปัจจุบัน 1 ทีม อ.พิมาย
รพ.กรุงเทพราชสีมา 19 ต.ค.53 - ปัจจุบัน 1 ทีม อ.ปักธงชัย
ศูนย์แพทย์ มทส. 21 ต.ค.53 1 ทีม อ.ปักธงชัย
สถาบันประสาท 23 – 24 ต.ค.53 1 ทีม อ.โนนสูง
รพ.ราชวิถี 23-24 ต.ค.53 1 ทีม อ.พิมาย
23-25 ต.ค.53 1 ทีม อ.โนนสูง
ทีมหน่วยแพทย์ ว.ด.ป. จำนวน สถานที่ออกปฏิบัติงาน
ทีมจากจังหวัดราชบุรี 24-25 ต.ค.53 2 ทีม ต.ท่าช้าง อ.เฉลิมพระเกียรติ
รพ.วังน้ำเขียว 26 ต.ค.53 1 ทีม
สถาบันโรคผิวหนัง 24 ต.ค.53 บ่าย 1ทีม อ.ปักธงชัย
25 ต.ค.53 2 ทีม 1. อ.ชุมพวง
2. ต.หมื่นไวย อ.เมือง (คงเดช 085-7675705)
26 ต.ค.53 1 ทีม 1.อบต.หนองพลวง อ.จักราช (สสอ.จักราช)
2. อ.เฉลิมพระเกียรติ
รพ.เมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง) 25 ต.ค.53 1 ทีม บ้านหัน อ.ปักธงชัย
(รพ.ปักธงชัย คุณฤดี 08-9945-4146, 08-9949-1187 )
หน่วยแพทย์เคลื่อนที่สมเด็จพระเทพฯ 1 พย. 53
2 ทีม 1. บ้านหนองกระทุ่ม อำเภอเมือง
2. บ้านกอกหมู่ 6 ต.พลับพลา อ.โชคชัย
2 พ.ย. 53 2 ทีม 1. บ้านหนองโจด ต.ลำมูล อ.โนนสูง
2. บ้านกุดน้ำใส ต.หนองบัวตะเกียด อ.ด่านขุนทด
โรงพยาบาลสงฆ์ 26 ต.ค. 53 1 ทีม 1. วัดหนองโจด อ.โนนสูง
27 ต.ค. 53 1 ทีม 1. วัดบ้านเกาะ อ.เมือง
2. สำนักปฏิบัติธรรมประโดก อ.เมือง
หน่วยแพทย์ทางสุขภาพจิต
- รพ.จิตเวชนครราชสีมาจังหวัดขอนแก่น จังหวัดเลย
- จังหวัดนครพนม
- รพ.ศรีมหาโพธิ์ (จังหวัดอุบลราชธานี) อำเภอปักธงชัย ลำทะเมนชัย พิมาย ชุมพวง เมืองยาง และเขตพื้นที่อำเภอเมือง
งานรักษาฯ สรุป ณ 4 พฤศจิกายน 53 (15.00 น.)







หน่วย EMS ที่มาช่วยผู้ประสบอุทกภัย จังหวัดนครราชสีมา ประสานผ่าน สนง.สสจ.นม.
หน่วย ว.ด.ป. จำนวน สถานที่ออกปฏิบัติงาน
Ambulance รพ.นางรอง
รพ.พุทไธสง
รพ.สตึก 18 ตค.53 - ปัจจุบัน 1 คัน
1 คัน
1 คัน ประจำที่ หน้าโรงเรียนสุรนารี
และโรงแรมพีกาซัส อ.เมือง
หน่วย B รพ.นางรอง 18 – 20 ตค.53 1 คัน ประจำที่ อ.พิมาย (พร้อมยาและเวชภัณฑ์)
หน่วย B รพ.นางรอง 18 – 20 ตค.53 1 คัน ประจำที่ อ.พิมาย (พร้อมยาและเวชภัณฑ์)
Ambulance รพ.สุรินทร์
ร่วมกับ รพ.โนนแดง 20 ตค.53 - ปัจจุบัน 2 คัน ประจำที่แยก อ.สีดา
หน่วย FR จาก อ.ลำปลายมาศ จ.บุรีรัมย์
- หนองกระทิง
- หนองคู
- หนองโคน
- โคกกลาง
- หินโคน
- บ้านยาง 22 – 25 ตค.53

1 คัน
1 คัน
1 คัน
1 คัน
1 คัน
1 คัน ประจำที่ อ.พิมาย

ข้อมูลการช่วยเหลือฉุกเฉินในระบบ EMS ช่วงสถานการณ์น้ำท่วม จังหวัดนครราชสีมา
ว/ด/ป ALS BLS FR รวม
17-ต.ค.-53 12 2 42 56
18-ต.ค.-53 50 3 86 139
19-ต.ค.-53 33 5 34 72
20-ต.ค.-53 3 1 10 14
21-ต.ค.-53 3 7 17 27
22-ต.ค.-53 59 12 121 192
23-ต.ค.-53 28 21 103 152
24-ต.ค.-53 19 15 127 161
25-ต.ค.-53 27 11 111 149
26-ต.ค.-53 37 18 131 186
27-ต.ค.-53 41 24 109 174
28-ต.ค.-53 39 23 103 165
รวม 351 142 994 1,487
งาน EMS สรุป ณ 4 พฤศจิกายน 53 (15.00 น.)


6. มาตรการดำเนินงานหลังน้ำลด
1) การควบคุมป้องกันโรค
- จัดทำคู่มือการควบคุมโรค สนับสนุนให้กับหน่วยงานทุกแห่งและเจ้าหน้าที่ทุกระดับ (สามารถ Download คู่มือได้ที่ http://korat.0wn0.com , http://korathealth.com )
- จัดทีมเคลื่อนที่เร็ว ระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล
- สนับสนุนเคมีภัณฑ์ เช่น คลอรีนผง หยดน้ำทิพย์ ปูนขาว รองเท้าบู๊ท ยาทางกันยุง กย. 15
- สนับสนุนชุดทดสอบ อุจจาระร่วง ชุดตรวจโรคฉี่หนู
2) ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
- จัดทำคู่มือด้านการควบคุมสิ่งแวดล้อม เช่น น้ำ อาหาร สิ่งปฏิกูล ขยะ
- การล้างตลาด (สามารถ Download คู่มือได้ที่ http://korat.0wn0.com , http://korathealth.com )
3) ประสานประชาสัมพันธ์จังหวัดนครราชสีมา ให้ออกประกาศเตือนประชาชนหลังน้ำลด
4) ประชาสัมพันธ์ผ่านประชาสัมพันธ์จังหวัด และ สื่อมวลชนTV หนังสือพิมพ์ วิทยุคลื่นหลัก
วิทยุชุมชน KCTV DTV http://korat.0wn0.com , http://korathealth.com
5) จัดหน่วยรักษาพยาบาล โดยเน้นการให้บริการทางด้านสุขภาพจิต เป็นสำคัญ

7.การขอรับการสนับสนุนจากส่วนกลาง(กระทรวง)

รายการ จำนวนที่ขอ จำนวนที่ได้รับ หมายเหตุ
1.ยาสามัญประจำบ้าน
100,000 ชุด แจกจ่ายประชาชนที่ประสบภัยน้ำท่วม
2.รองเท้าบูท 10,000 คู่ แจกจ่ายประชาชนที่ประสบภัยน้ำท่วม
3. ยาทาแก้โรคผิวหนัง ผื่น คัน 100,000 ชุด แจกจ่ายประชาชนที่ประสบภัยน้ำท่วม
4.งบประมาณ 340,520,000.00บาท เพื่อช่วยเหลือสถานบริการที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย
5. งบประมาณดำเนินการ 15,000,000.00 บาท เพื่อการดำเนินการแก้ไขปัญหาอุทกภัยอย่างครบวงจรในจังหวัดนครราชสีมา
6. เจลล้างมือ 500,000 หลอด แจกจ่ายประชาชนที่ประสบภัยน้ำท่วม
7. เจลเช็ดเท้ากันเปื่อย 100,000 หลอด แจกจ่ายประชาชนที่ประสบภัยน้ำท่วม
8. เจลทากันยุง 100,000 หลอด แจกจ่ายประชาชนที่ประสบภัยน้ำท่วม
9. รองเท้าบูท 100,000 คู่ แจกจ่ายประชาชนที่ประสบภัยน้ำท่วม
10.สารเคมีฉนิดพ่นยุงตัวแก่ (นอกบ้าน) 10,000 ลิตร แจกจ่ายประชาชนที่ประสบภัยน้ำท่วม
11. สารเคมีฉนิดฉีดพ่นยุงตัวแก่ชนิดกระป๋อง 450 ซีซี 100,000 กระป๋อง แจกจ่ายประชาชนที่ประสบภัยน้ำท่วม
12. สารเคมีกำจัดลูกน้ำ (ทรายเคลือบสารเคมี) 25 กก./ถัง 1,000 ถัง แจกจ่ายประชาชนที่ประสบภัยน้ำท่วม
13.ครอลีนชนิดผง (50 กก./ถัง) 600 ถัง แจกจ่ายประชาชนที่ประสบภัยน้ำท่วม
รายการ จำนวนที่ขอ จำนวนที่ได้รับ หมายเหตุ
14.โซดาไฟ (10 กก./ถัง) 140 ถัง แจกจ่ายประชาชนที่ประสบภัยน้ำท่วม
15.หยดทิพย์ 1 ขวด 42,000 ขวด แจกจ่ายประชาชนที่ประสบภัยน้ำท่วม
16.ปูนขาว 1 กก./ลัง 84,000 กก. แจกจ่ายประชาชนที่ประสบภัยน้ำท่วม
17.สารส้ม 1 กก./ลัง 42,000 กก. แจกจ่ายประชาชนที่ประสบภัยน้ำท่วม
18.ถุงดำขนาด 18 นิ้วX20 นิ้ว (จุ 45 ใบ) 84,000 ห่อ แจกจ่ายประชาชนที่ประสบภัยน้ำท่วม
19.ถุงดำขนาด 30 นิ้วX41นิ้ว (จุ 12 ใบ) 84,000 ห่อ แจกจ่ายประชาชนที่ประสบภัยน้ำท่วม
20. ชุดกรวดน้ำ / อาหาร ว 111 (โคลิฟอร์มในน้ำดื่ม) 20,000 ชุด แจกจ่ายประชาชนที่ประสบภัยน้ำท่วม
21. ว 720 ( คลอรีน คงเหลือในน้ำใช้) 300 ชุด แจกจ่ายประชาชนที่ประสบภัยน้ำท่วม
22.ขอสนับสนุนคู่มือประชาชนเรื่องการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมสำหรับกรณีฉุกเฉินและพิบัติภัย 40,000 เล่ม แจกจ่ายประชาชนที่ประสบภัยน้ำท่วม
23. ชุดตรวจ SI 2 21,540 ชุด แจกจ่ายประชาชนที่ประสบภัยน้ำท่วม
24. ขอให้ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 5 สนับสนุนชุด Carry Blair และบริการตรวจฟรี 10,000 ชุด แจกจ่ายและช่วยเหลือประชาชนที่ประสบภัยน้ำท่วม
25. ขอให้ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 5 สนับสนุนชุด Rappid Test for Leptospirosis และบริการตรวจฟรี 20,000 ชุด แจกจ่ายและช่วยเหลือประชาชนที่ประสบภัยน้ำท่วม
26.ยาไตรแอมชิโนโลนครีม 0.1% 20,000 ชุด แจกจ่ายประชาชนที่ประสบภัยน้ำท่วม
27. ยารักษาน้ำกัดเท้า 30,000 ชุด แจกจ่ายประชาชนที่ประสบภัยน้ำท่วม
28. ยาฆ่าเชื้อโรค(C0-trimazole) 2,000 ชุด แจกจ่ายประชาชนที่ประสบภัยน้ำท่วม
29.Chloramphenical eye ointment/drop 20,000 ชุด แจกจ่ายประชาชนที่ประสบภัยน้ำท่วม
30. Calamine lotion 60 ml 10,000 ชุด แจกจ่ายประชาชนที่ประสบภัยน้ำท่วม
31. Alum milk 10,000 ขวด แจกจ่ายประชาชนที่ประสบภัยน้ำท่วม
32. ORS 20,000 ซอง แจกจ่ายประชาชนที่ประสบภัยน้ำท่วม
33. Paracettamal 500 mg/tab ( 10 เม็ด) 20,000 เม็ด แจกจ่ายประชาชนที่ประสบภัยน้ำท่วม
ขึ้นไปข้างบน Go down
 
รายงานสถานการณ์น้ำท่วมครั้งที่ 27
ขึ้นไปข้างบน 
หน้า 1 จาก 1

Permissions in this forum:คุณไม่สามารถพิมพ์ตอบ
ศูนย์ประสานงานทางการแพทย์และสาธารณสุข :: ศูนย์ประสานงานด้านการสาธารณสุข :: สถานการณ์น้ำท่วมจังหวัดนครราชสีมา รายวัน-
ไปที่: